เกิดมา-คงอยู่-จากไป-ก่อนจากไป
วันศุกร์ที่ 14 สิงหาคม พ.ศ. 2552
วันพุธที่ 12 สิงหาคม พ.ศ. 2552
อ.ธีระพลเสนอทางออก
ขอให้ถ้อยคำยืนยันข้อเท็จจริงและหรือความเห็นดังต่อไปนี้
ลูกหนี้ที่ 2 เป็นภรรยาของข้าฯ ซึ่งได้จดทะเบียนหย่าไปนานแล้ว
เมื่อปี 2539 ข้าฯ และลูกหนี้ที่ 2 ได้กู้เงินเจ้าหนี้ผู้เป็นโจทก์ โดยจดทะเบียนจำนองที่ดิน โฉนดเลขที่ 17575 ตำบลหมอนนาง อำเภอพนัสนิคม จังหวัดชลบุรี และที่ดินโฉนดเลขที่ 47766 - 47796, 47989 - 47996, 48532 ตำบลท่าบุญมี อำเภอพนัสนิคม จังหวัดชลบุรีพร้อมสิ่งปลูกสร้างตามหมาย ล. 4 - 6 ต่อมา ภาวะเศรษฐกิจไม่ดี เจ้าหนี้ผู้เป็นโจทก์ได้ฟ้องลูกหนี้ทั้งสอง ต่อศาลจังหวัดชลบุรี ลูกหนี้ทั้งสองจึงได้ทำสัญญาประนอมยอมความโดยมีเงื่อนไขว่า
หากลูกหนี้ทั้งสองผิดนัดชำระเงินไม่ว่างวดหนึ่งงวดใด ให้บังคับคดีได้ทันที และยินยอมให้ยึดที่ดินพร้อมสิ่งปลูกสร้างที่จำนองออกขายทอดตลาด เพื่อนำเงินมาชำระหนี้จนครบถ้วน หากบังคับจำนองแล้วได้เงินไม่พอชำระหนี้ ลูกหนี้ทั้งสองยินยอมให้ยึดทรัพย์สินอื่น ออกขายทอดตลาด เพื่อชำระหนี้จนครบ
แต่คดีนี้เมื่อลูกหนี้ผิดนัดชำระ เจ้าหนี้ผู้เป็นโจทก์ก็มิได้ทั้งหมดออกขายทอดตลาด เพื่อนำเงินไปชำระหนี้เจ้าหนี้ผู้เป็นโจทก์ การฟ้องคดีนี้โดยเจ้าหนี้ผู้เป็นโจทก์ ยังมิได้ดำเนินการตามคำพิพากษา ตามยอมของศาลจังหวัดชลบุรี
ฟ้องเจ้าหนี้ผู้เป็นโจทก์ จึงไม่ชอบเป็นการใช้สิทธิโดยไม่สุจริต การที่เจ้าหนี้ผู้เป็นโจทก์ไม่ดำเนินการขายทอดตลาดทรัพย์จำนองทั้งหมด จึงเป็นเหตุให้เกิดดอกเบี้ยเพิ่มขึ้น ทั้ง ๆ ที่ทรัพย์สินดังกล่าว จดทะเบียนจำนองค้ำประกันหนี้ไว้กับธนาคาร
แต่ธนาคารไม่ใช้สิทธิ์ทั้ง ๆ ที่ฟ้องเป็นคดีกับลูกหนี้ตั้งแต่ปี 2543 ในสัญญาประนีประนอมยอมความ ก็ระบุชัดเจนว่า หากลูกหนี้จำเลยผิดนัดชำระหนี้ ก็สามารถยึดทรัพย์สินของลูกหนี้จำเลยชำระได้ แต่ธนาคารก็ไม่ดำเนินการตามสิทธิ ดังนั้นเจ้าหนี้ผู้เป็นโจทก์จึงไม่มีสิทธิ์เรียกร้องให้ลูกหนี้จ่ายดอกเบี้ยเพิ่มได้อีก
เพราะหนี้จำนวนนี้มีทรัพย์จดจำนองเป็นประกันโดยชัดเจนแล้ว มิใช่กรณีเจ้าหนี้ผู้เป็นโจทก์ ได้สืบทรัพย์พบและตามยึดในภายหลังได้ การที่เจ้าหนี้ผู้เป็นโจทก์ในคดีนี้ นำคดีขึ้นมาฟ้องลูกหนี้ ให้เป็นบุคคลล้มละลาย โดยอ้างว่าลูกหนี้มีทรัพย์สินน้อยกว่าหนี้สินนั้น จึงมิใช่เหตุผลที่จะรับฟังได้
เพราะข้อสันนิษฐานว่าจำเลยเป็นผู้มีหนี้สินล้นพ้นตัว ตามพระราชบัญญัติล้มละลายตามมาตรา 8 นั้น เป็นเพียงเหตุหนึ่งที่กฎหมายให้อำนาจโจทก์ฟ้องลูกหนี้ จำเลยให้ล้มละลายได้เท่านั้น ส่วนการพิจารณาคดีล้มละลาย มาตรา 14 ให้ศาลพิจารณาเอาความจริง ตามที่ได้บัญญัติไว้ ใน มาตรา 9 หรือ มาตรา 10
และที่ศาลจะมีคำสั่ง ให้ลูกหนี้เป็นบุคคลล้มละลาย มิใช่อาศัยแต่ลำพังเพียงข้อเท็จจริง อันเป็นเงื่อนไขตามข้อสันนิษฐาน ของกฎหมายอย่างเดียว
แต่ยังต้องพิจารณาเหตุผลอื่นประกอบ ที่พอแสดงให้เห็นว่า ลูกหนี้จำเลยตกอยู่ในฐานะผู้มีหนี้สินล้นพ้นตัวจริง เพราะการที่จะให้บุคคลล้มละลายนั้นย่อมกระทบถึงสิทธิและเสรีภาพในการดำรงชีวิตตามกฎหมาย ตลอดจนสถานะของบุคคลล้มละลายและสิทธิในทางทรัพย์สินของผู้นั้นโดยตรง
ข้อเท็จจริงแม้ลูกหนี้จะเป็นหนี้ผู้เป็นโจทก์พร้อมดอกเบี้ย ซึ่งมีมูลหนี้เดิมตั้งแต่ศาลมีคำพิพากษา วันที่ 4 ตุลาคม 2543 แต่เจ้าหนี้ผู้เป็นโจทก์รอจนกระทั่ง วันที่ 25 มกราคม 2551 จึงได้นำคดีนี้มาฟ้องเป็นคดีล้มละลาย
พฤติการณ์เช่นนี้ ก่อให้เกิดการคิดดอกเบี้ยเรื่อยมา ตั้งแต่ปี 2543 ทำให้ต้นเงินและดอกเบี้ย เมื่อคิดถึงวันฟ้องคดีนี้เป็นจำนวนเพิ่มขึ้น โดยเฉพาะอย่างยิ่งเจ้าหนี้ผู้เป็นโจทก์ ก็มิได้ดำเนินการขอให้เจ้าพนักงานบังคับคดีขายทอดตลาดทรัพย์ของลูกหนี้ทั้งหมดทั้ง ๆ ที่ทรัพย์ดังกล่าวจดทะเบียนจำนองไว้กับเจ้าหนี้แล้วจึงมีเหตุที่ไม่ควรให้ลูกหนี้ล้มละลาย เมื่อวันที่ 30 พฤษภาคม 2550 ลูกหนี้ทั้งสองเป็นหนี้เจ้าหนี้ผู้เป็นโจทก์ จำนวน 1,315,516.74 บาท ตามหมาย ล.1 - 3
ปัจจุบันทั้งสองได้ชำระหนี้แก่เจ้าหนี้ ผู้เป็นโจทก์คงเหลือ ณ.วันที่ 31 พฤษภาคม 2551 จำนวน 543,451.74 บาท ตามหมาย ล.7 และ ล.8 ดังนั้นยอดหนี้ของเจ้าหนี้ผู้เป็นโจทก์จึงไม่อาจกำหนดได้แน่นอนและไม่ถูกต้อง
ลูกหนี้ทั้งสองจึงยังเหลือทรัพย์สินที่จดจำนองอยู่กับเจ้าหนี้ผู้เป็นโจทก์อีกจำนวนมาก ทั้งหนี้คงเหลือไม่เกิน 1,000,000 บาท จึงไม่ต้องตกเป็นบุคคลล้มละลาย
ลงชื่อ.........................................ผู้ให้ถ้อยคำ
(.......................)
ลูกหนี้ที่ 2 เป็นภรรยาของข้าฯ ซึ่งได้จดทะเบียนหย่าไปนานแล้ว
เมื่อปี 2539 ข้าฯ และลูกหนี้ที่ 2 ได้กู้เงินเจ้าหนี้ผู้เป็นโจทก์ โดยจดทะเบียนจำนองที่ดิน โฉนดเลขที่ 17575 ตำบลหมอนนาง อำเภอพนัสนิคม จังหวัดชลบุรี และที่ดินโฉนดเลขที่ 47766 - 47796, 47989 - 47996, 48532 ตำบลท่าบุญมี อำเภอพนัสนิคม จังหวัดชลบุรีพร้อมสิ่งปลูกสร้างตามหมาย ล. 4 - 6 ต่อมา ภาวะเศรษฐกิจไม่ดี เจ้าหนี้ผู้เป็นโจทก์ได้ฟ้องลูกหนี้ทั้งสอง ต่อศาลจังหวัดชลบุรี ลูกหนี้ทั้งสองจึงได้ทำสัญญาประนอมยอมความโดยมีเงื่อนไขว่า
หากลูกหนี้ทั้งสองผิดนัดชำระเงินไม่ว่างวดหนึ่งงวดใด ให้บังคับคดีได้ทันที และยินยอมให้ยึดที่ดินพร้อมสิ่งปลูกสร้างที่จำนองออกขายทอดตลาด เพื่อนำเงินมาชำระหนี้จนครบถ้วน หากบังคับจำนองแล้วได้เงินไม่พอชำระหนี้ ลูกหนี้ทั้งสองยินยอมให้ยึดทรัพย์สินอื่น ออกขายทอดตลาด เพื่อชำระหนี้จนครบ
แต่คดีนี้เมื่อลูกหนี้ผิดนัดชำระ เจ้าหนี้ผู้เป็นโจทก์ก็มิได้ทั้งหมดออกขายทอดตลาด เพื่อนำเงินไปชำระหนี้เจ้าหนี้ผู้เป็นโจทก์ การฟ้องคดีนี้โดยเจ้าหนี้ผู้เป็นโจทก์ ยังมิได้ดำเนินการตามคำพิพากษา ตามยอมของศาลจังหวัดชลบุรี
ฟ้องเจ้าหนี้ผู้เป็นโจทก์ จึงไม่ชอบเป็นการใช้สิทธิโดยไม่สุจริต การที่เจ้าหนี้ผู้เป็นโจทก์ไม่ดำเนินการขายทอดตลาดทรัพย์จำนองทั้งหมด จึงเป็นเหตุให้เกิดดอกเบี้ยเพิ่มขึ้น ทั้ง ๆ ที่ทรัพย์สินดังกล่าว จดทะเบียนจำนองค้ำประกันหนี้ไว้กับธนาคาร
แต่ธนาคารไม่ใช้สิทธิ์ทั้ง ๆ ที่ฟ้องเป็นคดีกับลูกหนี้ตั้งแต่ปี 2543 ในสัญญาประนีประนอมยอมความ ก็ระบุชัดเจนว่า หากลูกหนี้จำเลยผิดนัดชำระหนี้ ก็สามารถยึดทรัพย์สินของลูกหนี้จำเลยชำระได้ แต่ธนาคารก็ไม่ดำเนินการตามสิทธิ ดังนั้นเจ้าหนี้ผู้เป็นโจทก์จึงไม่มีสิทธิ์เรียกร้องให้ลูกหนี้จ่ายดอกเบี้ยเพิ่มได้อีก
เพราะหนี้จำนวนนี้มีทรัพย์จดจำนองเป็นประกันโดยชัดเจนแล้ว มิใช่กรณีเจ้าหนี้ผู้เป็นโจทก์ ได้สืบทรัพย์พบและตามยึดในภายหลังได้ การที่เจ้าหนี้ผู้เป็นโจทก์ในคดีนี้ นำคดีขึ้นมาฟ้องลูกหนี้ ให้เป็นบุคคลล้มละลาย โดยอ้างว่าลูกหนี้มีทรัพย์สินน้อยกว่าหนี้สินนั้น จึงมิใช่เหตุผลที่จะรับฟังได้
เพราะข้อสันนิษฐานว่าจำเลยเป็นผู้มีหนี้สินล้นพ้นตัว ตามพระราชบัญญัติล้มละลายตามมาตรา 8 นั้น เป็นเพียงเหตุหนึ่งที่กฎหมายให้อำนาจโจทก์ฟ้องลูกหนี้ จำเลยให้ล้มละลายได้เท่านั้น ส่วนการพิจารณาคดีล้มละลาย มาตรา 14 ให้ศาลพิจารณาเอาความจริง ตามที่ได้บัญญัติไว้ ใน มาตรา 9 หรือ มาตรา 10
และที่ศาลจะมีคำสั่ง ให้ลูกหนี้เป็นบุคคลล้มละลาย มิใช่อาศัยแต่ลำพังเพียงข้อเท็จจริง อันเป็นเงื่อนไขตามข้อสันนิษฐาน ของกฎหมายอย่างเดียว
แต่ยังต้องพิจารณาเหตุผลอื่นประกอบ ที่พอแสดงให้เห็นว่า ลูกหนี้จำเลยตกอยู่ในฐานะผู้มีหนี้สินล้นพ้นตัวจริง เพราะการที่จะให้บุคคลล้มละลายนั้นย่อมกระทบถึงสิทธิและเสรีภาพในการดำรงชีวิตตามกฎหมาย ตลอดจนสถานะของบุคคลล้มละลายและสิทธิในทางทรัพย์สินของผู้นั้นโดยตรง
ข้อเท็จจริงแม้ลูกหนี้จะเป็นหนี้ผู้เป็นโจทก์พร้อมดอกเบี้ย ซึ่งมีมูลหนี้เดิมตั้งแต่ศาลมีคำพิพากษา วันที่ 4 ตุลาคม 2543 แต่เจ้าหนี้ผู้เป็นโจทก์รอจนกระทั่ง วันที่ 25 มกราคม 2551 จึงได้นำคดีนี้มาฟ้องเป็นคดีล้มละลาย
พฤติการณ์เช่นนี้ ก่อให้เกิดการคิดดอกเบี้ยเรื่อยมา ตั้งแต่ปี 2543 ทำให้ต้นเงินและดอกเบี้ย เมื่อคิดถึงวันฟ้องคดีนี้เป็นจำนวนเพิ่มขึ้น โดยเฉพาะอย่างยิ่งเจ้าหนี้ผู้เป็นโจทก์ ก็มิได้ดำเนินการขอให้เจ้าพนักงานบังคับคดีขายทอดตลาดทรัพย์ของลูกหนี้ทั้งหมดทั้ง ๆ ที่ทรัพย์ดังกล่าวจดทะเบียนจำนองไว้กับเจ้าหนี้แล้วจึงมีเหตุที่ไม่ควรให้ลูกหนี้ล้มละลาย เมื่อวันที่ 30 พฤษภาคม 2550 ลูกหนี้ทั้งสองเป็นหนี้เจ้าหนี้ผู้เป็นโจทก์ จำนวน 1,315,516.74 บาท ตามหมาย ล.1 - 3
ปัจจุบันทั้งสองได้ชำระหนี้แก่เจ้าหนี้ ผู้เป็นโจทก์คงเหลือ ณ.วันที่ 31 พฤษภาคม 2551 จำนวน 543,451.74 บาท ตามหมาย ล.7 และ ล.8 ดังนั้นยอดหนี้ของเจ้าหนี้ผู้เป็นโจทก์จึงไม่อาจกำหนดได้แน่นอนและไม่ถูกต้อง
ลูกหนี้ทั้งสองจึงยังเหลือทรัพย์สินที่จดจำนองอยู่กับเจ้าหนี้ผู้เป็นโจทก์อีกจำนวนมาก ทั้งหนี้คงเหลือไม่เกิน 1,000,000 บาท จึงไม่ต้องตกเป็นบุคคลล้มละลาย
ลงชื่อ.........................................ผู้ให้ถ้อยคำ
(.......................)
สมัครสมาชิก:
บทความ (Atom)
ภาพแต่ละวันที่ผ่านไป
ทำให้ทบทวนชีวิตแต่ละช่วงได้ง่ายขึ้น
pichai

เกิดมาคงอยู่จากไป
คลังบทความของบล็อก
- 8 ธันวาคม (3)
- 1 ธันวาคม (1)
- 19 ธันวาคม (3)
- 25 เมษายน (5)
- 11 เมษายน (6)
- 14 มีนาคม (1)
- 7 มีนาคม (9)
- 28 กุมภาพันธ์ (19)
- 7 กุมภาพันธ์ (1)
- 31 มกราคม (1)
- 24 มกราคม (7)
- 17 มกราคม (6)
- 10 มกราคม (1)
- 3 มกราคม (1)
- 13 ธันวาคม (4)
- 29 พฤศจิกายน (1)
- 22 พฤศจิกายน (1)
- 15 พฤศจิกายน (1)
- 8 พฤศจิกายน (10)
- 25 ตุลาคม (1)
- 11 ตุลาคม (1)
- 4 ตุลาคม (4)
- 27 กันยายน (5)
- 20 กันยายน (2)
- 6 กันยายน (1)
- 30 สิงหาคม (2)
- 9 สิงหาคม (2)
- 2 สิงหาคม (2)
- 26 กรกฎาคม (3)
- 19 กรกฎาคม (4)
- 5 กรกฎาคม (1)
- 24 พฤษภาคม (1)
- 10 พฤษภาคม (1)
- 22 กุมภาพันธ์ (2)
- 25 มกราคม (7)
- 11 มกราคม (5)
- 4 มกราคม (4)
- 30 พฤศจิกายน (2)
- 12 ตุลาคม (5)
- 5 ตุลาคม (9)
- 28 กันยายน (10)
- 21 กันยายน (26)
- 14 กันยายน (10)
- 7 กันยายน (4)
- 31 สิงหาคม (9)
- 24 สิงหาคม (3)
- 17 สิงหาคม (3)
- 27 กรกฎาคม (1)
- 20 กรกฎาคม (2)
- 13 กรกฎาคม (6)
- 6 กรกฎาคม (8)
- 29 มิถุนายน (5)
- 20 เมษายน (1)
- 2 ธันวาคม (2)
- 18 พฤศจิกายน (2)
- 11 พฤศจิกายน (1)
แต่ละช่วงของชีวิต

- บันทึกเป็นประวัติศาสตร์
- ชลบุรี, ภาคตะวันออก, Thailand
- เกิดมา คงอยู่ จากไป-ทิ้งสิ่งดี ๆ ก่อนจากไป
ภาพที่เกี่ยวกับที่ดินพิพาท สถานที่ โฉนด เอกสาร
- การเมือง (3)
- ที่ดินพิพาท (3)
- ธ.ทหารไทย (3)
- บทความ (1)
- หน้าหนาว พฤศจิกายน ธันวาคม ปี 2550 หนาวมาก (1)
ลำดับเหตุการณ์ตั้งแต่ ปี 2506 ถึง ปี 2550
2520 อ.จ.วงเดือน คุณจักรออกไปดำเนินการกับ นายทรงชัย ศิริวรรณ
ขอ ธ.เชีย แบ่งแยกที่ดินขณะติดจำนอง เพื่อนำมาทำการแ่บ่งแยกเพื่อให้เป็น
ไปตามหนังสือสัญญาฉบับ วันที่ 5 ต.ค.2515
2526 ในขณะนั้นเกิดปัญหาขึ้น 2 ประการ
(1) นายทรงชัย เบญจศิิริวรรณ ไม่มีเงินจ่ายค่าแบ่งแยกที่ดินให้
อ.จ.วงเดือน คุณจักร ที่มาของคำว่า "มันไม่ใช่ลูกผู้ชาย"
(2) นายทรงชัย เบญจศิริวรรณ ขายโรงเลื่อยให้ นายธนากร(ธวัช)
กุลบุศย์ แต่ไม่ได้โอน "ใบอนุญาติประกอบกิจการรอุตสาห์กรรม เลขที่
ต.3827/2526 ทะเบียนโรงงานเลขที่ 34(1)-5/20 ชบ.
2527 ที่มาของ หนังสือสัญญาฉบับลงวันที่ 30 พ.ค.2527 ระบุ
นายทรงชัยแจ้งให้ผู้ซื้อโรงเลื่อย นายธวัช กุลบุศย์ ทราบว่า
มีสัญญาผูกพันต้องโอนที่ดินให้ อ.จ.วงเดือน คุณจักร
เตือนนายธวัชอย่าแต่งเรื่องเพราะมี นายประโยชน์-นายดรงค์
ค้ำคอนายทรงชัยอยู่เป็นอื่นไม่ได้ ถ้ามีเรื่องตามแต่งไว้ว่า นายทรงชัย
มีข้อตกลงอื่นใดไว้จริงต้องมีปรากฎในสัญญา 30 พ.ค.2527 แน่นอน
ข้อที่ 1 อ.จ.วงเดือน คุณจักร ไปบีบ นายทรงชัย คืนใบอนุญาติ
ข้อที่ 2 ในวันโอน(ย้ำวันโอนที่ดิน) นายธวัช จ่ายค่าโอนที่ดิน
ข้อที่ 3 ความจริงที่ดินจังหวัดชลบุรีรับเหมาแบ่งแยกไป
ไร่ละ 20,000 บาท (จะให้เขียนไปในสัญญาว่าอย่างไร)
2529 นายพิชัย คุณจักร ออกไปตามนายธนากร(ธวัช) กุลบุศย์ ที่โรงเลื่อยไป
เจอ นายบุญฤิทธิ์(บุญส่ง) กาญจนพันธ์ "พูดว่าเจ้าของโรงเลื่อยไม่มีเงินจ่าย
ค่าแรงลูกน้องจึงต้องขายไม้เอาเงินไปจ่าย" แสดงตัวเหมือนเป็นเจ้าของโรงเลื่อย
บอกขายโรงเลื่อย(ที่มาของการตั้งคำถามจากทนายให้ นายธวัช ตอบว่า ใช่
เคยให้ นายบุญฤิทธิ์เช่าโรงเลื่อยนายยธวัชตอบแบบหน้างงๆคงมีคำถามในใจ
ว่าเพื่ออะไรวะ(ดูได้จากตอนท้ายการให้ปากคำนายธวัช)
ถามดักหน้านายพิชัยหรือ? ถามให้ตอบไว้ในสำนวนทำไม? ที่ไปหาน่ะอยาก
เจอตัว นายธนากร(ธวัช) ว่าให้มาตกลงกันก็เท่านั้นเอง
2530 นายพิชัย คุณจักร เป็นอัมพาต ให้นางสมจิตร(สิริกร) คุุณจักร(ภรรยา)
ออกตามเรื่องต่อ ไปพัทยาก็ตาม ไปเก็บค่าเช่าก็เจอคำถามแปลก(ใครสอนมา)
ขอดูหลักฐานการเป็นเจ้าของ ไม่จ่ายจะว่าอย่างไร (ระยะนั้นอ่านไม่ออก)
2531 มีคนมาบอกว่า เขาเป็นเจ้าของที่ดิน ขอให้นายพิชัย คุณจักร ออกไปดูที่ดิน
ด่วนด้วย(ช่วงนั้นมองไปที่นายกฤษดาคนซื้อโรงเลื่อยจากนายธวัช) ลากขา
(อัมพาต)มีสิ่งที่ทำได้ในตอนนั้น
ออกไปปกป้องสิทธิ์ แสดง
ความเป็นเจ้าของ
ที่ที่ดินพิพาท เขามาบอกว่า
"เขาเป็นเจ้าของที่ดิน ถ้าซื้อจะแบ่งแยกที่ดินและขายให้ทุกห้องที่อาศัยอยู่"
บอกกับผู้เช่าที่เป็นผู้หญิง "ถ้าไม่ซื้อจะมาล้อมรั้วที่ดินทั้งหมด" บีบเลยหรือ
ถึงพิการ นายพิชัย คุณจักร ก็ต้องออกไปดู ถ่ายเอกสารแจกเรียกผู้เช่าให้มา
รวมกันแล้วชี้แจง
ใครมาทำอะไร
ในที่ดินของเราหรือ
-งงว่าถามให้ตอบทำไม-สำนวนให้ปากคำธวัช)
2538 (1)นางแดง เยาวยอด เป็นลูกน้องช่วยขายของหน้าร้าน นายธนากร(ธวัช)
กุลบุศย์
2547 นายบุญฤิทธิ์ กาญจนพันธ์ เป็นลูกน้อง หลงจู๊ อ้างเคยเป็นผู้เช่าโรงเลื่อยจาก
นายธนากร(ธวัช)กุลบุศย์
2548 นายพิชัย คุณจักร เริ่มเจรจา ถูกนายบุญฤิทธิ์ กาญจนพันธ์ หลอกทางโทรศัพท์